เคยไหมสงสัยแต่ไม่กล้าถาม?

บางทีเรียนไม่เข้าใจ ไม่กล้ายกมือถาม อาย กลัวเพื่อนว่า บางเนื้อหามีความเกี่ยวข้องกัน ทำให้ไปต่อไม่ได้ ตามเพื่อนไม่ทัน

"ให้ติวเตอร์เราช่วยแก้ปัญหาได้คะ"

เรามีบริการจัดส่งติวเตอร์ให้ท่านถึงบ้าน

ไม่ว่าบ้านท่านจะอยู่ที่ไหน เรามีติวเตอร์ส่งให้ท่านถึงบ้าน  หรือสถานที่ต่างๆทั่วกรุงเทพและปริมณฑล สำหรับต่างจังหวัดเรายังมีสอนตัวต่อตัวผ่าน skype ทำให้ท่าน ไม่พลาดการเรียนแบบส่วนตัวของเราอย่างแน่นอน การสอนของเรามีทั้งการสอนแบบตัวต่อตัว แบบกลุ่ม ซึ่งถ้าเรียนแบบกลุ่มท่านสามารถจัดผู้เรียนได้เอง ทำให้ประหยัดค่าเรียนลงอีกด้วย

รับสอนทุกวิชาทุกระดับชั้น เริ่มต้น 200 บาทต่อชั่วโมง

เป็นสถาบันเดียวเลยก็ว่าได้ที่มีการสอนทุกวิชา เนื่องจากเราเปิดมานาน ทำให้เรามีติวเตอร์เข้าร่วมงานจำนวนมาก เรารับสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย ทั้งหลักสูตร ปกติ หลักสูตรอินเตอร์ ขอเพียงท่านแจ้งวิชาและจุดประสงค์ในการเรียน เราพร้อมจัดส่งผู้สอนให้กับท่านถึงบ้าน ระยะเวลา 1-7 วัน

บริการของเรา

บริการจัดส่งติวเตอร์ตัวต่อตัวถึงบ้าน นอกสถานที่ สอนพิเศษแบบกลุ่ม ส่งติวเตอร์ให้สถาบันบริษัทห้างร้านต่างๆ ตามความต้องการของท่าน

Read more

ราคาค่าเรียน

ค่าเรียนพิเศษตัวต่อตัว เริ่มต้น 200บาท/ชั่วโมง ราคารวมค่าเอกสารการเดินทางเรียบร้อย  เราจะจัดติวเตอร์ที่ใกล้และเหมาะสมที่สุดแก่ท่าน
 
Read more

 สมัครเรียนพิเศษสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

 ติดต่อเราสอบถามสมัครเรียนพิเศษ

telicon 089-284-4228

 Add line เพื่อพูดคุยกับเราโดยตรง

Untitled 3

total tutorcu

เหตุผลหลักที่ต้องเรียนพิเศษ

1.)เรียนไม่ทันเพื่อนในห้องเรียน ทำให้ผู้เรียนขาดความสนใจในวิชานั้น ติวเตอร์จะช่วย สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีความสนใจเรียนได้มากขึ้น ทำให้ผลการเรียนการสอบดีขึ้นอย่างแน่นอน

2.)ต้องการเพิ่มศักยภาพในวิชานั้น ติวเตอร์จะช่วย ทบทวนบทเรียนแบบฝึกหัดต่างๆ คอยเสริมเติมเต็มศักยภาพที่มีในตัวผู้เรียนให้ดีขึ้น

ดังนั้นหากผู้เรียนมีความรักในการเรียน ผลการเรียนการสอบออกมาได้ดี เพราะมีพี่ๆติวเตอร์เป็นคนสร้างแรงจูงใน ยิ่งเป็นการเรียนตัวต่อตัว อนาคตก็ไม่ต้องกลับมาเรียนพิเศษอีกให้เปลืองเงินอีก เพราะเด็กจะเรียนรู้ด้วยตัวเองได้

 

เรียนสอนพิเศษติวเตอร์หาครูกวดวิชาตัวต่อตัวตามที่บ้านที่ไหนดีราคา

จัดอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย! สกอ.

 

ที่ผ่านมาได้มีการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยหลายครั้ง โดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ

สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)

สำหรับในต่างประเทศ นิตยสารไทมส์ไฮเออร์ นิตยสารเอเชียวีก เว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ ได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลก โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใด

จุดประสงค์ในการจัดอันดับ

จุดประสงค์ในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยแตกต่างกันไปตามหน่วยงานหรือนิตยสารที่จัด โดยทาง สกอ. ให้เหตุผลว่าจัดเพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจให้กับนักเรียนที่จะใช้ในการเลือกสอบเข้าเรียนในสถาบันต่างๆ ขณะที่ สมศ. ให้เหตุผลว่าจัดเพื่อในการประเมินตนเองและประกันคุณภาพ

เช่นเดียวกับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศทั่วไป นิตยสารได้มีจุดขายในการโฆษณาหนังสือของตนเอง ขณะที่มีการให้ความรู้เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยแก่นักเรียน นักศึกษา รวมถึงทางบริษัทที่จะจ้างงานบุคคลจากมหาวิทยาลัยนั้น

ในขณะที่เว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์มีจุดประสงค์ที่แตกต่างจากที่อื่น โดยจัดอันดับมหาวิทยาลัยตามจำนวนเอกสารตีพิมพ์ออนไลน์และจำนวนเอกสารที่มีการอ้างถึง โดยไม่ได้จัดอันดับตามคุณภาพหรือจำนวนนักศึกษาตามการจัดอันดับทั่วไป

การประเมินคุณภาพวิจัยโดย สกว.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้จัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย โดยใช้ตัวชี้วัด 3 ตัว ได้แก่

1.               ความสามารถเฉลี่ยของอาจารย์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับระดับนานาชาติ

2.               ความสามารถของอาจารย์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิง

3.               ความสามารถของหน่วยงานในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับวารสารระดับนานาชาติ

โดยได้แบ่งระดับการประเมินออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับ 5 ดีมาก, ระดับ 4 ดี, ระดับ 3 ปานกลาง, ระดับ 2 ควรปรับปรุง, และระดับ 1 ต้องปรับปรุงโดยด่วน

ผลการประเมิน พ.ศ. 2550

ในการประเมินครั้งแรก มีคณะที่สนใจเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 78 คณะ จาก 26 มหาวิทยาลัย โดยมีอยู่ 4 คณะที่สามารถจัดกลุ่มได้ทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และมีอยู่ 1 คณะที่ส่งข้อมูลการวิจัยเพียง 1 ภาควิชา จึงไม่สามารถประเมินได้ ดังนั้นการประเมินจึงมีคณะทั้งสิ้น 81 คณะ และได้ประกาศการประเมินแล้วเมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550[1]

ภาพรวมการประเมิน พบว่ามีคณะที่

  • ได้คะแนนระดับ ดีมาก 11 คณะ
  • ได้คะแนนระดับ ดี 15 คณะ
  • ได้คะแนนระดับ ปานกลาง 16 คณะ
  • ได้คะแนนระดับ ควรปรับปรุง 27 คณะ
  • ได้คะแนนระดับ ต้องปรับปรุงโดยด่วน 10 คณะ
  • ไม่ได้จัดระดับ 2 คณะ

และมีคณะที่ได้คะแนนระดับดีมากในตัวชี้วัดทั้ง 3 ตัวทุกตัวจำนวน 2 คณะ คือ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ม.ธรรมศาสตร์ และคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล

คณะ/สาขาที่ได้รับผลประเมินระดับ 5 ในตัวชี้วัดที่ 1

คณะ/สาขาที่ความสามารถเฉลี่ยของอาจารย์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับระดับนานาชาติ อยู่ในระดับดีมาก:

  • วิศวกรรมศาสตร์: สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ม.ธรรมศาสตร์
  • วิทยาศาสตร์: สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ ม.มหิดล, คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล, สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ ม.สุรนารี
  • เกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร/ประมง/ทรัพยากรธรรมชาติ: คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.สงขลานครินทร์, คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์
  • เทคโนโลยี/พลังงาน/วิทยาการสารสนเทศ: บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มท.พระจอมเกล้าธนบุรี, คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มท.พระจอมเกล้าธนบุรี
  • แพทยศาสตร์/เวชศาสตร์เขตร้อน: คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • เภสัชศาสตร์: คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล
  • วิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้แก่ คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

[แก้] คณะ/สาขาที่ได้คะแนนระดับ 5 ในตัวชี้วัดที่ 2

คณะ/สาขาที่ความสามารถของอาจารย์ในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีคุณภาพในด้านการได้รับการอ้างอิง อยู่ในระดับดีมาก:

  • วิศวกรรมศาสตร์: สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ม.ธรรมศาสตร์
  • วิทยาศาสตร์: สถาบันอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร์ ม.มหิดล
  • เกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร/ประมง/ทรัพยากรธรรมชาติ: คณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.สงขลานครินทร์
  • เทคโนโลยี/พลังงาน/วิทยาการสารสนเทศ: บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มท.พระจอมเกล้าธนบุรี
  • แพทยศาสตร์/เวชศาสตร์เขตร้อน: คณะเวชศาสตร์เขตร้อน ม.มหิดล
  • เภสัชศาสตร์: คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล
  • วิทยาศาสตร์การแพทย์: คณะเทคนิคการแพทย์ ม.มหิดล

คณะ/สาขาที่ได้คะแนนระดับ 5 ในตัวชี้วัดที่ 3

คณะ/สาขาที่ความสามารถของหน่วยงานในการผลิตผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เทียบเท่ากับวารสารระดับนานาชาติ อยู่ในระดับดีมาก:

  • วิศวกรรมศาสตร์: สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร ม.ธรรมศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  • วิทยาศาสตร์: คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล, คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
  • เกษตร/อุตสาหกรรมเกษตร/ประมง/ทรัพยากรธรรมชาติ: คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์, คณะเกษตร ม.เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน
  • เทคโนโลยี/พลังงาน/วิทยาการสารสนเทศ: คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มท.พระจอมเกล้าธนบุรี
  • แพทยศาสตร์: คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
  • เภสัชศาสตร์: คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล
  • วิทยาศาสตร์การแพทย์: คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

การจัดอันดับโดย สกอ.

การจัดอันดับโดย สกอ. ได้มีการจัดทำเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ในการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยรัฐ โดยมีมหาวิทยาลัยเข้าร่วม 50 มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยเดียวที่เข้าร่วมแต่เสนอว่าไม่ต้องการอยู่ในอันดับ และ มหาวิทยาลัยเอกชนไม่ได้ร่วมด้วยเนื่องจากสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยแจ้งว่ายังไม่ให้ข้อมูลในปีนั้น

การจัดอันดับนี้ใช้ชื่อว่า "โครงการฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อประเมินศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทย"[2] ได้แบ่งหัวข้อการจัดอันดับออกเป็น 2 ส่วนหลักคือ ด้านการวิจัย และ ด้านการเรียนการสอน ได้จัดทำออกเป็น 2 ส่วนย่อยคือ อันดับในภาพรวมแบ่งแยกตามมหาวิทยาลัยแบ่งออกเป็นกลุ่ม และอันดับแบ่งแยกย่อยในแต่ละสาขาวิชา โดยแบ่งออกเป็น 7 สาขาวิชาย่อย ได้แก่ (1) สาขาวิทยาศาสตร์ (2) สาขาเทคโนโลยี (3) สาขาชีวการแพทย์ (4) สาขามานุษยวิทยาและศิลปกรรมศาสตร์ (5) สาขาสังคมศาสตร์ (6) สาขาเกษตร (7) สาขาศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์

อันดับโดย สกอ. ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2549) ในภาพรวม แบบตามอันดับ

เมื่อ พ.ศ. 2549 สกอ. ได้ประกาศ 50 อันดับมหาวิทยาลัยด้านวิจัย และด้านการเรียนการสอน[3] โดย 10 อันดับแรกคือ

 

ด้านการเรียนการสอน (คะแนนเต็ม 80%)

ด้านการวิจัย (คะแนนเต็ม 100%)

1.               มหาวิทยาลัยมหิดล 61.11%

2.               จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 52.78%

3.               มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 47.27%

4.               มหาวิทยาลัยขอนแก่น 47.16%

5.               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 46.12%

6.               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 45.72%

7.               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 45.37%

8.               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 45.07%

9.               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี43.59%

10.         มหาวิทยาลัยศิลปากร 43.46%

1.               มหาวิทยาลัยมหิดล 100.00%

2.               จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 92.24%

3.               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 81.49%

4.               มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี81.36%

5.               มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 78.68%

6.               มหาวิทยาลัยขอนแก่น 75.70%

7.               สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 74.10%

8.               มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 73.61%

9.               มหาวิทยาลัยนเรศวร 72.04%

10.         มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 71.26%

 

 

การจัดอันดับโดย นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์

 

นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ (THES) ได้จัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลก โดยแบ่งเป็นโดยภาพรวม และจัดแยกสาขาออกเป็น 5 สาขา ได้แก่ สาขาเทคโนโลยี (วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ) สาขาเวชชีวศาสตร์สาขาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ และสาขาสังคมศาสตร์ โดยมีชื่อมหาวิทยาลัยไทยอยู่ในอันดับ ตามปี และสาขาต่อไปนี้

 

 

ปีที่จัดอันดับ

สาขา

สถาบัน

อันดับ
(ทั้งหมด)

หมายเหตุ

พ.ศ.2547

  • สาขาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์
  • สาขาสังคมศาสตร์
  • สาขาเวชชีวศาสตร์
  • จุฬาฯ
  • 50 (100)
  • 46 (50)
  • 60 (100)
 

พ.ศ.2548

ภาพรวม

  • จุฬาฯ
  • ม.สงขลานครินทร์
  • ม.เชียงใหม่
  • ม.เกษตรศาสตร์
  • ม.ธรรมศาสตร์
  • ม.ขอนแก่น
  • 121 (500)
  • 221
  • 243
  • 320
  • 437
  • 486

อนึ่ง การจัดอันดับของ THES-QS จัดอันดับทั้งหมด 500 อันดับ แต่ประกาศอย่างเป็นทางการเพียง 200 อันดับ[15]

 

  • สาขาสังคมศาสตร์
  • สาขาเวชชีวศาสตร์
  • สาขาเทคโนโลยี
  • จุฬาฯ
  • 46 (100)
  • 82 (100)
  • 100 (100)
 

พ.ศ.2549

ภาพรวม

  • จุฬาฯ
  • ม.ธรรมศาสตร์
  • ม.มหิดล
  • ม.เกษตรศาสตร์
  • ม.เชียงใหม่
  • ม.ขอนแก่น
  • ม.สงขลานครินทร์
  • 161 (520)
  • 317
  • 322
  • 404
  • 418
  • 475
  • 481

เมื่อดูจากแถบเอเชียและโอเชียเนีย จุฬาฯ อยู่ในอันดับที่ 41 (50) โดยอันดับใกล้เคียง คือ

  • มหาวิทยาลัยเกิตติงเงิน (156)
  • มหาวิทยาลัยวาเซดะ (158)
  • มหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตต(163)

การจัดอันดับของ THES-QS จัดอันดับทั้งหมด 520 อันดับ แต่ประกาศอย่างเป็นทางการเพียง200 อันดับ[16]

 

  • สาขาเทคโนโลยี
  • สาขาเวชชีวศาสตร์
  • สาขาสังคมศาสตร์
  • จุฬาฯ
  • 95 (100)
  • 80 (100)
  • 73 (100)
 

พ.ศ.2550

ภาพรวม

  • จุฬาฯ
  • ม.มหิดล
  • ม.เกษตรศาสตร์
  • ม.ธรรมศาสตร์
  • ม.เชียงใหม่
  • ม.สงขลานครินทร์
  • ม.ขอนแก่น
  • 223
  • 284
  • 447
  • 447
  • 463
  • 525
  • 531

THES - QS จัดอันดับมหาวิทยาลัยทั้งหมด 566มหาวิทยาลัย[17]

 

  • สาขาสังคมศาสตร์
  • สาขาเทคโนโลยี
  • จุฬาฯ
  • 83
  • 100

เฉพาะสาขาที่มีมหาวิทยาลัยไทยติด 100 อันดับแรก[18]

พ.ศ.2551

ภาพรวม

  • จุฬาฯ
  • ม.มหิดล
  • ม.เกษตรศาสตร์
  • 166
  • 251
  • 400

จากการประกาศมหาวิทยาลัย400 อันดับแรก[19]

 

  • สาขาสังคมศาสตร์
  • สาขาเทคโนโลยี
  • จุฬาฯ
  • 72
  • 86
  • จากการประกาศมหาวิทยาลัย101 อันดับแรก[20]
  • จากการประกาศมหาวิทยาลัย100 อันดับแรก[21]

 


ขอบคุณที่มาจาก: วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ข้อมูลน่ารู้เกี่ยวกับการศึกษา

เรียนพิเศษแต่ละครั้งก็ต้องจ่ายเงินไปหลายบาท ยิ่งการเรียนพิเศษตัวต่อตัว ค่าเรียนก็ยิ่งจะแพงขึ้นกว่าเดิมอีก แต่จะเรียนพิเศษทั้งทีก็ต้องเอาความรู้ที่ได้จากที่เรียนพิเศษจากติวเตอร์มาให้เยอะที่สุด จะทำยังไงนั้น วันนี้ พี่แอดมิน จะนำเรื่องราวดีๆ มาฝากน้องๆ กันครับ

Read more

เพื่อนๆ หลายคนคงเคยเจอกับปัญหา เรียนตก เรียนไม่เก่ง หัวไม่ดี กันมาทั้งนั้น เราจะมีวิธีแก้ไขมันยังไง ทำให้เราเป็นคนเรียนดี เ แค่เรารู้จักแบ่งเวลา จัดตารางอ่านหนังสือ แค่นี้ก็ไม่ใช่เรื่องยากแล้วที่เราจะสามารถกลายเป็นคนเรียนเก่ง ถ้าไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง ลองมาดู เทคนิคของคนเรียนเก่งกันเลย

Read more

รับสอนพิเศษตัวต่อตัวตามบ้าน